3. หน้าที่ความรับผิดชอบแผนกบริการส่วนหน้า (Responsibility of Front Off การแปล - 3. หน้าที่ความรับผิดชอบแผนกบริการส่วนหน้า (Responsibility of Front Off อังกฤษ วิธีการพูด

3. หน้าที่ความรับผิดชอบแผนกบริการส่

3. หน้าที่ความรับผิดชอบแผนกบริการส่วนหน้า (Responsibility of Front Office Department)

หน้าที่ความรับผิดชอบที่สำคัญของแผนกบริการส่วนหน้าอาจจะแยกได้เป็น 2 ประเด็นหลัก

ประเด็นแรก คือ หน้าที่ในการบริการแขกโดยตรง ซึ่งเป็นหน้าที่ของพนักงานในแผนกบริการส่วนหน้า โดยเฉพาะที่ทำงานอยู่ในเคาน์เตอร์ต้อนรับ (Front Desk) และพนักงานที่ทำงานอยู่ในโถงต้อนรับ (Lobby) ซึ่งได้แก่ พนักงานสัมภาระ (Bell Person) พนักงานเปิดประตู (Door Person) พนักงานอาคันตุกะสัมพันธ์ (Guest Relation)

ประเด็นที่สอง คือ หน้าที่ในการประสานงาน (Coordination) กับแผนกอื่น ดังนั้นจึงสามารถแยกหน้าที่ความรับผิดชอบของแผนกบริการส่วนหน้าได้ ดังนี้

3.1 การประชาสัมพันธ์ (Public Relation) พนักงานแผนกบริการส่วนหน้าต้องมีความรู้เกี่ยวกับโรงแรมเป็นอย่างดี ในรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริการโรงแรม ผลผลิต (Product) ของโรงแรม ราคา (Price) ของผลผลิตและกฎเกณฑ์ต่างๆ ของโรงแรมพร้อมที่จะประชาสัมพันธ์ให้แขกได้รับทราบ หรือกรณีที่แขกสอบถามก็ต้องตอบได้โดยไม่ต้องให้แขกรอนาน การประชาสัมพันธ์จะสร้างความประทับใจให้แก่แขกได้ส่วนหนึ่ง แขกอาจจะสนใจบริการของโรงแรมและบอกเล่าแก่คนอื่น (Word-of-mouth) ต่อไป หน้าที่การ ประชาสัมพันธ์ พนักงานทุกส่วนงานของแผนกไม่ว่าจะเป็นสำรองห้องพัก โทรศัพท์ ต้อนรับ การเงินส่วนหน้า ยกสัมภาระ เปิดประตู หรืออาคันตุกะสัมพันธ์ สามารถกระทำได้ทั้งสิ้น โรงแรมที่มีระบบการบริการที่ดีจะอบรม หรือมีคู่มือแจกให้พนักงานธุรกิจของโรงแรม เพื่อประชาสัมพันธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และถูกต้องอย่างไรก็ตามการประชาสัมพันธ์ จะต้องมีขอบเขตและอยู่ในลักษณะเหมาะสม อย่าให้กลายเป็นความโอ้อวดหรือเกินเหตุ

3.2 การต้อนรับ (Reception) พนักงานแผนกบริการส่วนหน้าจะต้องต้อนรับแขกอยู่เสมอ ทั้งแขกที่เข้ามาพักในโรงแรม หรือบุคคลภายนอกในส่วนของแขกพัก พนักงานต้อนรับจะต้องปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนด้วยมารยาทที่งดงามการต้อนรับนี้ เป็นหน้าที่ของพนักงานต้อนรับ (Receptionist) โดยเฉพาะ แต่พนักงานอื่นก็มีส่วนในการทำหน้าที่ด้วยเหมือนกัน เช่น พนักงานสัมภาระ หรืออาคันตุกะสัมพันธ์ โดยเฉพาะพนักงานอาคันตุกะสัมพันธ์ มักจะได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ต้อนรับแขกสำคัญ (VIP)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
3. หน้าที่ความรับผิดชอบแผนกบริการส่วนหน้า (Responsibility of Front Office Department) หน้าที่ความรับผิดชอบที่สำคัญของแผนกบริการส่วนหน้าอาจจะแยกได้เป็น 2 ประเด็นหลัก ประเด็นแรก คือ หน้าที่ในการบริการแขกโดยตรง ซึ่งเป็นหน้าที่ของพนักงานในแผนกบริการส่วนหน้า โดยเฉพาะที่ทำงานอยู่ในเคาน์เตอร์ต้อนรับ (Front Desk), และพนักงานที่ทำงานอยู่ในโถงต้อนรับ (Lobby) ซึ่งได้แก่ พนักงานสัมภาระ (Bell Person) พนักงานเปิดประตู (Door Person) พนักงานอาคันตุกะสัมพันธ์ (Guest Relation) ประเด็นที่สอง คือ หน้าที่ในการประสานงาน (Coordination) กับแผนกอื่น ดังนั้นจึงสามารถแยกหน้าที่ความรับผิดชอบของแผนกบริการส่วนหน้าได้ ดังนี้ 3.1 การประชาสัมพันธ์ (Public Relation) พนักงานแผนกบริการส่วนหน้าต้องมีความรู้เกี่ยวกับโรงแรมเป็นอย่างดี ในรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริการโรงแรม ผลผลิต (Product) ของโรงแรม ราคา (Price) ของผลผลิตและกฎเกณฑ์ต่างๆ ของโรงแรมพร้อมที่จะประชาสัมพันธ์ให้แขกได้รับทราบ หรือกรณีที่แขกสอบถามก็ต้องตอบได้โดยไม่ต้องให้แขกรอนาน การประชาสัมพันธ์จะสร้างความประทับใจให้แก่แขกได้ส่วนหนึ่ง แขกอาจจะสนใจบริการของโรงแรมและบอกเล่าแก่คนอื่น (Word-of-mouth) ต่อไป หน้าที่การ ประชาสัมพันธ์ พนักงานทุกส่วนงานของแผนกไม่ว่าจะเป็นสำรองห้องพัก โทรศัพท์ ต้อนรับ การเงินส่วนหน้า ยกสัมภาระ เปิดประตู หรืออาคันตุกะสัมพันธ์ สามารถกระทำได้ทั้งสิ้น โรงแรมที่มีระบบการบริการที่ดีจะอบรม หรือมีคู่มือแจกให้พนักงานธุรกิจของโรงแรม เพื่อประชาสัมพันธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และถูกต้องอย่างไรก็ตามการประชาสัมพันธ์ จะต้องมีขอบเขตและอยู่ในลักษณะเหมาะสม อย่าให้กลายเป็นความโอ้อวดหรือเกินเหตุ 3.2 การต้อนรับ (front desk) พนักงานแผนกบริการส่วนหน้าจะต้องต้อนรับแขกอยู่เสมอ ทั้งแขกที่เข้ามาพักในโรงแรม หรือบุคคลภายนอกในส่วนของแขกพัก พนักงานต้อนรับจะต้องปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนด้วยมารยาทที่งดงามการต้อนรับนี้ โดยเฉพาะ แต่พนักงานอื่นก็มีส่วนในการทำหน้าที่ด้วยเหมือนกัน เช่น เป็นหน้าที่ของพนักงานต้อนรับ (Receptionist) พนักงานสัมภาระ หรืออาคันตุกะสัมพันธ์ โดยเฉพาะพนักงานอาคันตุกะสัมพันธ์ มักจะได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ต้อนรับแขกสำคัญ (VIP)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
3rd (Responsibility of Front Office 2 ประเด็น หลักประเด็น แรก คือ หน้าที่ ใน การ บริการ แขก โดยตรง (Front Desk) (Lobby) ซึ่ง ได้แก่ พนักงาน สัมภาระ (Bell Person) พนักงาน เปิด ประตู (Door Person) พนักงาน อาคันตุกะ สัมพันธ์ (Guest Relation) ประเด็น ที่ สอง คือ หน้าที่ ใน การ ประสาน งาน (Coordination) กับ แผนก อื่น ดังนี้3.1 การ ประชาสัมพันธ์ (Public Relation) ใน ราย ละเอียด ต่าง ๆ เกี่ยว กับ การ บริการ โรงแรม ผลผลิต (Product) ของ โรงแรม ราคา (Price) ของ ผลผลิต และ กฎเกณฑ์ ต่างๆ (Word-of-mouth) ต่อ ไป หน้าที่ การ ประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ ต้อนรับ การเงิน ส่วน หน้า ยก สัมภาระ เปิด ประตู หรือ อาคันตุกะ สัมพันธ์ สามารถ กระทำ ได้ ทั้งสิ้น การ ต้อนรับ (Reception) ทั้ง แขก ที่ เข้า มา พัก ใน โรงแรม หรือ บุคคล ภายนอก ใน ส่วน ของ แขก พัก ถูก ต้อง และ มี ประสิทธิภาพ เป็น หน้าที่ ของ พนักงาน ต้อนรับ (Receptionist) โดย เฉพาะ เช่น พนักงาน สัมภาระ หรือ อาคันตุกะ สัมพันธ์ โดย เฉพาะ พนักงาน อาคันตุกะ สัมพันธ์ (VIP)










การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
3. หน้าที่ความรับผิดชอบแผนกบริการส่วนหน้า (Responsibility of Front Office Department)

หน้าที่ความรับผิดชอบที่สำคัญของแผนกบริการส่วนหน้าอาจจะแยกได้เป็น 2 ประเด็นหลัก

ประเด็นแรก คือ หน้าที่ในการบริการแขกโดยตรง ซึ่งเป็นหน้าที่ของพนักงานในแผนกบริการส่วนหน้า โดยเฉพาะที่ทำงานอยู่ในเคาน์เตอร์ต้อนรับ (Front Desk) และพนักงานที่ทำงานอยู่ในโถงต้อนรับ (Lobby) ซึ่งได้แก่ พนักงานสัมภาระPerson) พนักงานเปิดประตู (Door Person) พนักงานอาคันตุกะสัมพันธ์ (Guest Relation)

ประเด็นที่สอง คือ หน้าที่ในการประสานงาน (Coordination) กับแผนกอื่น ดังนั้นจึงสามารถแยกหน้าที่ความรับผิดชอบของแผนกบริการส่วนหน้าได้ ดังนี้

3.1 การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) พนักงานแผนกบริการส่วนหน้าต้องมีความรู้เกี่ยวกับโรงแรมเป็นอย่างดี ในรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริการโรงแรม ผลผลิต (Product) ของโรงแรม ราคา (price) ของผลผลิตและกฎเกณฑ์ต่างๆหรือกรณีที่แขกสอบถามก็ต้องตอบได้โดยไม่ต้องให้แขกรอนาน การประชาสัมพันธ์จะสร้างความประทับใจให้แก่แขกได้ส่วนหนึ่ง แขกอาจจะสนใจบริการของโรงแรมและบอกเล่าแก่คนอื่น (Word-of-mouth) ต่อไป หน้าที่การ ประชาสัมพันธ์โทรศัพท์ ต้อนรับ การเงินส่วนหน้า ยกสัมภาระ เปิดประตู หรืออาคันตุกะสัมพันธ์ สามารถกระทำได้ทั้งสิ้น โรงแรมที่มีระบบการบริการที่ดีจะอบรม หรือมีคู่มือแจกให้พนักงานธุรกิจของโรงแรมและถูกต้องอย่างไรก็ตามการประชาสัมพันธ์ จะต้องมีขอบเขตและอยู่ในลักษณะเหมาะสม อย่าให้กลายเป็นความโอ้อวดหรือเกินเหตุ

3.2 การต้อนรับ (Reception) พนักงานแผนกบริการส่วนหน้าจะต้องต้อนรับแขกอยู่เสมอ ทั้งแขกที่เข้ามาพักในโรงแรม หรือบุคคลภายนอกในส่วนของแขกพัก พนักงานต้อนรับจะต้องปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพเป็นหน้าที่ของพนักงานต้อนรับ (Receptionist) โดยเฉพาะ แต่พนักงานอื่นก็มีส่วนในการทำหน้าที่ด้วยเหมือนกัน เช่น พนักงานสัมภาระ หรืออาคันตุกะสัมพันธ์ โดยเฉพาะพนักงานอาคันตุกะสัมพันธ์(VIP)
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: